ไปอ่านเจอคำแปลของอาจารย์ cen และเพื่อนที่เวปจงไท่
เลยเอามาวางฝาก เพื่อนๆ ต้นทางเวป
http://www.zhongtai.org/forum/index.php?topic=660.20;wap2
ศีล 戒
สมาธิ 定
ปัญญา 慧
佛陀悟道後最早傳授的真理,四真諦:
อริยสัจ「苦、集、滅、道。ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค 」
苦: 生就是苦的業因, 身苦:老、病、死。 心苦:貪、瞋、痴。
集: 原因是對生命的渴求,以至造成惡果。受到各種的限制聚集,
此即「因」和「緣」。由於受到的影響,有著各種不同的苦,而集一切而成。
滅: 受到因素的影響而造成各種苦之後,必須去除這些因素,以回復真正的自由。
道: 即真如之道、涅槃之道,主要是由滅苦而到達涅槃之道的最高境界。
(涅槃 所有的煩惱都已滅絕 )
佛教廣大眾生,離苦得樂,而起的四無量心:
พรหมวิหาร「慈、悲、喜、舍。เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา」
慈:是與樂,想眾生得到安樂;
悲:是拔苦,想眾生遠離苦惱;
喜:是喜悅,想眾生離苦得樂;
舍:是同仁,想眾生冤親平等。
อริยสัจ 4 หมายถึงความจริงอันประเสริฐ หลักธรรม ที่ใช้ประกอบในการบรรลุมรรคผลนิพพาน
1. ทุกข์ คือ ความจริงว่าด้วยทุกข์
2. สมุทัย คือ ความจริงว่าด้วยเหตุแห่งทุกข์
3. นิโรธ คื่อ ความจริงว่าด้วยความดับทุกข์
4. มรรค คือ ข้อปฏิบัติ ให้ถึงความดับทุกข์
พรหมวิหาร 4 แปลว่า ธรรมของพรหมหรือของท่านผู้เป็นใหญ่ ที่ควรจะมีกันและยึดถือปฏิบัติ
1. เมตตา หมายถึง ความปรารถนาให้ผู้อื่นได้รับสุข
2. กรุณา หมายถึง ความปราถนาให้ผู้อื่นพ้นทุกข์
3. มุทิตา หมายถึง ความยินดีเมื่อผู้อื่นมีความสุข
4. อุเบกขา หมายถึง การรู้จักวางเฉย จิตเป็นกลาง
***************
【舍利子】佛教用語(梵文 शरीर สารีริกธาตุ Sarira ) 意即為 “身骨”
據傳釋迦涅槃後遂將其火化,其屍骨結成珠狀物。
稱為佛舍利,而佛髮、佛牙也稱佛髮舍利、佛牙舍利。
佛教也用於稱呼德行較高的和尚死後燒剩的骨頭。
有三種舍利說:白色骨舍利、黑色髮舍利、紅色肉舍利。
和四種舍利說:全身舍利、碎身舍利、法身舍利、生存舍利(指佛教全部經卷)。
【塔】Pagoda(梵文 स्तूप สถูป stupa) 稱作 窣堵坡,起源於佛教的(浮屠)。
佛教中的塔,是高僧的載骨建築。起於古代印度,隨佛教在東方的傳播,廣泛擴散,發展出了這種東方特色和風格的傳統形式。於是 [塔] 也成為 [佛] 的象征。
"พระบรมสารีริกธาตุ" คือ ส่วนย่อยที่บังเกิดแต่องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าโดยเฉพาะ มิได้เป็นคำที่ใช้เรียก พระธาตุของพระอรหันตสาวก หรือพระธาตุเจดีย์ต่างๆ (บางทีเรียกว่า"พระบรมธาตุ" หรือ "พระสารีริกธาตุ" ก็ได้)
"พระธาตุ" คือ กระดูก หรือ ส่วนของร่างกายต่างๆ เช่น ผม เล็บ ฟัน หนัง โลหิต ฯลฯ ที่มีคุณลักษณะเป็นที่แตกต่างจากสามัญชนทั่วไป โดยมีลักษณะคล้าย ' ธาตุ ' ซึ่งหากไม่สังเกตให้ดีแล้ว ก็คล้าย กรวด หิน แก้ว เพชร ฯลฯ
คำว่า พระบรมธาตุ และ พระธาตุ ยังหมายถึงสถูปเจดีย์ต่างๆได้อีกด้วย เช่น พระบรมธาตุไชยา พระธาตุพนม ฯลฯ
http://www.relicsofbuddha.com/page8.htm
(http://www.relicsofbuddha.com/page8.htm)
****************
结夏安居(梵文 vassa)佛教术语,也称为 雨安居、坐夏安居。指的是在雨季八月十六至十一月十五日,三个月期间,出家人集结在一起修行的制度,在这期间僧侣不允许随意外出,意思是雨季期间,佛陀为了避免僧团出外佈施的困难,不受蛇类蚊虫的侵袭,以及避免伤害到草木虫蚁,故模仿印度当时外道的习惯,而制定此一规定。
僧团平日居住在聚落附近,以及在森林中独居的,各自修行。但在安居时,要聚会在一起,一同诵戒,纠正彼此的行为,同时分享修行心得。僧团会限定的活动范围,称为结界。除非有要事,受父母或施主请託,僧侣不得离开僧团外出,或独自别居。若真有要事,可向僧团请求暂时外出,但不可能多过七夜。
เข้าพรรษา แปลว่า พักฝน คือ เริ่มตั้งแต่วันแรม 1 ค่ำ เดือน 8 และออกพรรษาในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 ของทุกปี พระพุทธเจ้าจึงทรงวางระเบียบ การจำพรรษา ให้พระภิกษุอยู่ประจำที่ตลอด 3 เดือนในฤดูฝน
หมายถึง พระภิกษุสงฆ์ต้องอยู่ประจำ ณ วัดใดวัดหนึ่ง โดยเหตุที่ มิต้องให้พระภิกษุที่ต้องจาริกโปรดสัตว์ และเผยแผ่พระธรรมคำสอนในที่ต่าง ๆ ไปเหยียบข้าวกล้าและพืชอื่นๆจนเสียหาย เว้นแต่มีกิจธุรจำเป็น ก็อนุญาตให้ไปแรมคืนได้ คราวหนึ่งไม่เกิน 7 คืนเรียกว่า สัตตาหะ
*******
提婆 देव 與 阿修羅 असुर ,聯合起來攪乳海,以望獲得各種寶物。他們用曼陀羅山作攪棍,蛇王 “婆蘇吉” 作攪繩,最後攪出了各種寶物,包括不死仙露、谷酒女神、和很多寶物等。
這時 “那羅延 即 毗濕奴” 變身成一個美女,把眾阿修羅迷得魂不守舍,天神們趁機喝光了仙露。阿修羅中只有 “羅睺” 眼尖手快偷喝了一口。
被 日和月神 發現,向 “毗濕奴” 報告,當即用飛盤砍下了 “羅睺” 的半身。但因為他已經喝了甘露,所以不死,為了報仇,就經常追吞噬太陽和月亮,從而引起日食和月食的由來。
此神話出現於史詩 (摩訶婆羅多 महाभारत Mahābhārata),後來又被往世書復述。
เหล่าเทพและอสูร ช่วยกันกวนน้ำนมสมุทร เพือให้ได้ของทิพย์วิเศษ โดยเอาภูเขามันทรคีรีเป็นแกน พญานาคราชวาสุกรีเป็นเชื่อก ที่สุดก็ได้สิ่งวิเศษมากมาย 14 อย่าง รวมทั้งน้ำอมฤต
พระนารายณ์ แปลงร่างเป็นนางอัปสรโมหิณี ที่สวย มายั่วยวนพวกอสูรให้หลงไหล เหล่าเทพถือโอกาสดื่มน้ำอมฤตจนหมด มีเพียง ราหู ตนเดียวไม่สน แอบมาขโมยกิน อาทิตย์และจันทร์ จึงไปบอก พระนารายณ์ ได้ขว้างจักรตัดร่าง ราหู ขาดออก แต่เพราะได้ดื่มน้ำอมฤต จึงไม่ตาย ด้วยความแค้น ก็ไล่จับมากิน
แต่ร่างกายที่มีครึ่งท่อน พอกินเข้าไปแล้ว ก็หลุดออกมาอีก เป็นการกำเนิดของ สุริยุป และ จัทรุปราคา มาจากกาพย์หนึ่งใน ตำนาน มหาภารตะ อันยิงใหญ่
****************
佛教創始人 釋迦牟尼 涅槃後,內部由於對所說的教義有不同的理解和闡發,形成了許多不同的派別。按照其教理等方面的不同,可歸納為大乘和小乘兩大基本派別。
乘 是梵文(Yana 音讀 衍那)的意譯比喻 佛法:苦海慈航,濟渡眾生。指運載工具像舟,車能載人由此達彼一樣。
大乘教(महायान Mahayana 音讀 摩訶衍那)以菩薩的覺道歸圓滿,主張弘揚佛法,渡眾救濟。流傳印度北部,後入中國、日本、韓國、越南 等及西域各國。
小乘教(स्थविरवाद Hinayana 音讀 希那衍那)以羅漢的解脫為目標,追求修戒行善,自渡証果。主要流行於南部,斯里蘭卡、泰國、緬甸、柬埔寨 等及南亞各國。
他們不接受 “小乘 ” 的稱號。自稱(स्थविरवाद Theravada 上座部佛教),中國雲南上座部佛教,也屬於這個系統。
หลังจากที่พระพุทธเจ้าปรินิพพานแล้วประมาณ ๑๐๐ ปี พระพุทธศาสนาก็เริ่มมีการแตกแยกในด้านความคิดเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติตาม พระธรรมวินัย จนถึงแตกแยกกันออกเป็นนิกายใหญ่ๆ ๒ นิกาย คือ มหายาน กับ หินยาน
มหายาน แปลว่า "ยานใหญ่" เป็นลัทธิของภิกษุฝ่ายเหนือ ซึ่งมีจุดมุ่งหมายที่จะเผยแผ่พระพุทธศาสนาให้มหาชนเลื่อมใสเสียก่อน แล้วจึงสอนให้ระงับดับกิเลส ทั้งยังได้แก้ไขคำสอนในพระพุทธศาสนาให้ผันแปรไปตามลำดับ ลัทธินี้ได้ เข้าไปเจริญรุ่งเรืองอยู่ใน ทิเบต จีน เกาหลี ญี่ปุ่น และเวียดนาม
หินยาน เป็นคำที่ฝ่ายมหายานตั้งให้ แปลว่า "ยานเล็ก" เป็นลัทธิของภิกษุฝ่ายใต้ ที่สอนให้พระสงฆ์ปฏิบัติเพื่อดับกิเลส ของตนเองก่อน และห้ามปลี่ยนแปลงแก้ไขพระวินัยเด็ดขาด นิกายนี้มีผู้นับถือมากในประเทศศรีลังกา ไทย พม่า ลาว และกัมพูชา เป็นต้น
แต่ทางลัทธิใต้ไม่ยอมรับคำว่า หินยาน และเรียกเป็น นิกายเถรวาท ในประเทศไทยยังได้แบ่งเป็นนืกายย่อยอีก 2 คือ มหานิกาย และ ธรรมยุตินิกาย
หัวข้อ: Re: 大乘和小乘
เริ่มหัวข้อโดย: cen ที่ 2 กรกฎาคม 2010, 18:00:30
菩薩:(梵文. बोधिसत्त्व โพธิสัตว์ Bodhisattva) 菩提薩埵 的簡稱。原為修行而未成佛時的稱號。為了協助佛陀弘揚佛法普渡眾生,常化身來到世間,救濟苦難。
根據 “人人具有佛性,人人皆可成佛” 的理論,把凡是立下宏願,上求佛道,下化眾生都稱之為菩薩。後來這個名稱更加擴大化、世俗化,那些精通佛法,德高望眾的寺院高僧和在家居士也稱作菩薩。任務是將所有輪回中的眾生度化成佛。
四弘誓願,無邊眾生誓願度,無盡煩惱誓願斷,無量法門誓願學,無上佛道誓願成。但是發菩提心,並非偶然想起成佛利生,而是要修習,達到堅固成就的。
羅漢:(梵文. अरिहन्त อรหันต์ Arhat) 阿羅漢 的簡稱,原是小乘佛教佛家語,依照佛的教導,修習脫離生死輪迴的聖人。
尚義有三,即殺賊、無生、應供,殺賊是指殺死內心的煩惱賊,無生是指不受生死果報,應供義即應受人天供養。也是大小乘佛教的果位名,在小乘聲聞四果是指初果斯陀洹,二果須陀含,三果阿那含,四果阿羅漢。
พระโพธิสัตว์ หมายถึง บุคคลที่บำเพ็ญหรือกระทำความดีต่างๆ เพื่อให้บรรลุพระสัมมาสัมโพธิญาณเป็น พระพุทธเจ้าในอนาคตกาล มีพระโพธิสัตว์เป็นจำนวนมากตามความเชื่อในฝ่ายเถรวาท และมหายาน
พระอรหันต์ คือ ผู้สำเร็จธรรมวิเศษสูงสุดในพระพุทธศาสนา พระอริยบุคคลชั้นสูงสุด สามารถละสังโยชน์ได้ครบ 10 ประการ
邪見、มิจฉาทิฐิ
邪思維、มิจฉาสังกัปปะ
邪語、มิจฉาวาจา
邪業、มิจฉากัมมันตะ
邪命、มิจฉาอาชีวะ
邪精進、มิจฉาวายามะ
邪念、มิจฉาสติ
邪定、มิจฉาสมาธิ
破一切境即破心 ปลงสภาวะทั้งปวงคือปลงจิต
破一切心即無心 ปลงจิตทั้งมวลคือจิตว่าง
無心尊者即明心 เข้าถึงจิตว่างคือแจ้งจิต
明心尊者見性王 ผู้แจ้งจิตคือเห็นแจ้งธรรมญาณ
沒有留言:
張貼留言